หาภรรยาให้สามี
หาภรรยาน้อยมาให้สามี เพื่อจะได้มีลูก ถือว่า ผิดศีลหรือไม่
ชายกับชาย-ที่นี่มีคำตอบ
การอยู่ร่วมกันระหว่างชายกับชายฉันสามีภรรยา หากไม่มีการนอกใจกันเลย กรณีนี้จะบาปไหม
ร่วมบุญเป็นเจ้าภาพพิมพ์หนังสือ "การบ้าน 10 ข้อ เพื่อการบรรลุธรรม"
ร่วมบุญเป็นเจ้าภาพพิมพ์หนังสือ "การบ้าน 10 ข้อ เพื่อการบรรลุธรรม" โดย คุณครูไม่เล็ก สิ้นสุดส่งรายชื่อ วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ศีล คุ้มครองตนจากบาปและอกุศล
ศีล ในทางปฏิบัติหมายถึงการงดเว้นจากการประพฤติผิดทางกายและวาจา การควบคุมกายวาจาให้เรียบร้อยงดงาม ให้ปราศจากความมัวหมอง ไม่ให้ผิดปกติธรรมดา กล่าวคือการไม่ทำผิดไม่พูดผิดนั่นเองจัดเป็นศีล ซึ่งจัดเป็นคุณธรรม ที่ทำให้เข้าถึงความเป็นยอดคน เป็นบุคคลผู้สมบูรณ์แบบ มีความเป็นปกติ เป็นผู้ที่เย็นกาย เย็นใจ และมีชีวิตที่ปลอดโปร่ง ปลอดภัยอยู่เสมอ
ศีล 5 ความหมายของศีล 5
ศีล 5 คำแปล ความหมาย คำอาราธนา ศีล 5 พร้อมคำแปล วัตถุประสงค์ของการรักษาศีล
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๓ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป (ข้อ ๓-๘)
กุศลกรรมบถ ศีล..มารดาแห่งความดี
ศีล เป็นเขตแดน เป็นเครื่องปิดกั้นความทุจริต ทำ จิตให้ร่าเริงแจ่มใสและเป็นท่าหยั่งลงมหาสมุทร คือ นิพพานของ พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เพราะฉะนั้น บุคคลพึงรักษาศีลให้บริสุทธิ์ (สีลวเถรคาถา)
คำว่า ศีล มีความหมายอย่างไร - หลวงพ่อตอบปัญหา
คำว่า ศีล มีความหมายอย่างไร, เรามีวิธีการรักษาศีลห้าให้ถูกต้องอย่างไร และมีกุศโลบายและยุทธวิธีอย่างไรหรือไม่ ในการที่จะทำให้เรารักษาศีลห้าได้มั่นคงตลอดไป, ถ้าตั้งใจรักษาศีลห้าอย่างดี แบบเอาชีวิตเป็นเดิมพัน จะมีอานิสงส์อย่างไร
พิธีมอบพัด ป.ธ.๓ และประโยค ๑ - ๒ ณ วัดพิพัฒน์มงคล จ.สุโขทัย
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ คณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานในพิธีมอบเปรียญธรรม ๓ ประโยค ในเขตปกครองคณะสงฆ์หนเหนือ และพระภิกษุสามเณรที่สอบได้ประโย ๑ - ๒ ณ วัดพิพัฒน์มงคล อำเภอทุ่งเสี่ยม จังหวัดสุโขทัย